Skip to content
Home
Learning
Introduction to Systems Thinking
เว็บไซต์จากต่างประเทศเกี่ยวกับ Systems Thinking
Resources for Ph.D. students in Health Systems Science
Resources for Higher Graduate Diploma Program in Clinical Science Students
Resources for MD Students
Special Doctoral Seminar
Systems Thinking for Epidemic Control and Health Care Management
แบบจำลองพลวัตระบบเพื่อช่วยตัดสินใจเชิงนโยบาย
Systems Reforms
COVID-19
ข้อควรระวังในการดำเนินการนโยบาย “เรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกับโรคโควิด”
ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับการแปลผลความสำเร็จของมาตรการล็อกดาวน์ใน 29 จังหวัดสีแดงเข้มจากตัวเลขในรายงานประจำวันของศบค.
แบบจำลองสถานการณ์เพื่อพิจารณาแนวโน้มการระบาดของโควิด-19 ภายหลังการผ่อนคลายการบังคับใช้มาตรการล็อคดาวน์ หลังการระบาดระลอกแรกในประเทศไทย ปี 2563
ข้อคิดบางประการจากการทำงานบนแนวคิดเรื่อง “ห้องปฏิบัติการนโยบายสุขภาพ” เพื่อออกแบบนโยบายการพัฒนาระบบริการเพื่อรับมือกับภาระโรคไม่ติดต่อในบริบทสังคมผู้สูงอายุ
ข้อสังเกตจากแบบจำลองสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า
About Us
MENU
Home
Learning
Introduction to Systems Thinking
เว็บไซต์จากต่างประเทศเกี่ยวกับ Systems Thinking
Resources for Ph.D. students in Health Systems Science
Resources for Higher Graduate Diploma Program in Clinical Science Students
Resources for MD Students
Special Doctoral Seminar
Systems Thinking for Epidemic Control and Health Care Management
แบบจำลองพลวัตระบบเพื่อช่วยตัดสินใจเชิงนโยบาย
Systems Reforms
COVID-19
Q1: กลับตัวก็ไม่ได้จะเดินต่อไปก็ไปไม่ถึง? : เราควรมีนโยบายและมาตรการเพื่อรับมือจัดการระบาดระลอกสายพันธุ์โอมิครอนที่แตกต่างไปจากการรับมือการระบาดระลอกที่ผ่านมาอย่างไรบ้าง?
Q2: ข้อมูลเปลี่ยนไปทำไมความเข้าใจไม่เปลี่ยนตาม? : ประชาชนควรระวังอะไรเป็นพิเศษบ้างในการระบาดระลอกนี้ และควรจะเลิกระวังอะไรได้แล้วบ้าง?
Q3: ทำไมเรา (ถูกทำให้) มองเห็นความจริงได้ยากนัก? : ทำไมการนำเสนอสถานการณ์การระบาดของสธ. และ ศบค. จึงยังไม่สามารถในการระบุจำนวนผู้ติดเชื้อใหม่ทั้งหมดในแต่ละวันได้อย่างชัดเจน?
Q4: ประกาศแบบไหนที่คนไทยพร้อมร่วมมือ? : ข้อควรระวังสำหรับผู้กำหนดนโยบายในการระบาดระลอกนี้ได้แก่อะไรบ้าง?
Q5: ฉุกเฉินมาสองปีเราได้เรียนรู้อะไรจากการมีศบค.? : ระบบการจัดการภาวะสาธารณะฉุกเฉินที่ดีควรเป็นอย่างไร?
ข้อควรระวังในการดำเนินการนโยบาย “เรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกับโรคโควิด”
ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับการแปลผลความสำเร็จของมาตรการล็อกดาวน์ใน 29 จังหวัดสีแดงเข้มจากตัวเลขในรายงานประจำวันของศบค.
แบบจำลองสถานการณ์เพื่อพิจารณาแนวโน้มการระบาด ของโควิด-19 ในประเทศไทยระลอกที่สาม
สัดส่วนของจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดที่ตรวจพบเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนผู้ติดเชื้อที่แท้จริงในประเทศไทย
สถานการณ์โควิด-19 ของประเทศไทยในวันที่ 99 ของการระบาดระลอกสาม
เรายังทำอะไรเพิ่มเติมได้บ้างในสถานการณ์การระบาดที่เริ่มควบคุมได้ลำบากมากขึ้น?
เปิดแผนที่นำทาง บูรณาการแก้ไขเชิงระบบ การระบาด COVID-19
COVID-19 กับ Systems Modelling
Dancing around the R0
แบบจำลองสถานการณ์เพื่อพิจารณาแนวโน้มการระบาดของโควิด-19 ภายหลังการผ่อนคลายการบังคับใช้มาตรการล็อคดาวน์ หลังการระบาดระลอกแรกในประเทศไทย ปี 2563
ข้อคิดบางประการจากการทำงานบนแนวคิดเรื่อง “ห้องปฏิบัติการนโยบายสุขภาพ” เพื่อออกแบบนโยบายการพัฒนาระบบริการเพื่อรับมือกับภาระโรคไม่ติดต่อในบริบทสังคมผู้สูงอายุ
ข้อสังเกตจากแบบจำลองสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า
About Us
Home
All Courses
MOOC
กระบวนการคิดเชิงระบบสำหรับการควบคุมโรคและการจัดการระบบบริบาลสุขภาพ (Systems Thinking for the Epidemic Control and Health Care Management)
Instructor
Borwornsom Leerapan
Category
MOOC
กระบวนการคิดเชิงระบบสำหรับการควบคุมโรคและการจัดการระบบบริบาลสุขภาพ (Systems Thinking for the Epidemic Control and Health Care Management)
Lifetime access
All levels
2 lessons
0 quizzes
0 students
Requirements
ระบาดวิทยาพื้นฐาน
การจัดการขั้นพื้นฐาน
แนวคิดและหลักการพื้นฐานด้านสาธารณสุข
Overview
Curriculum
Instructor
คำอธิบายรายวิชา (Course Description):
หลักสูตรนี้นำเสนอการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและแนวคิดเรื่องกระบวนการคิดเชิงระบบ เครื่องมือของกระบวนการคิดเชิงระบบ การประยุกต์ใช้ในด้านระบาดวิทยาและการจัดการความสามารถด้านการดูแลสุขภาพ วิธีการใช้แนวทางการจัดการเชิงระบบเพื่อรับมือกับความท้าทายที่ซับซ้อนในการควบคุมโรค การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการระบบบริบาลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมโรค วิธีการวางแผนและการออกแบบนโยบายควบคุมโรครวมทั้งการส่งมอบบริการสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง การประเมินการจัดบริการด้านสุขภาพโดยใช้มุมมองของการคิดเชิงระบบ กรณีศึกษาของการทำงานควบคุมโรคในระบบสุขภาพ โอกาสในการประยุกต์ใช้กระบวนการคิดเชิงระบบเพื่อพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและการสร้างขีดความสามารถของประเทศไทยในการปรับตัวของระบบสุขภาพให้มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และเป็นธรรม
วัตถุประสงค์ของรายวิชา (Course Objectives):
หลังจบรายวิชานี้แล้ว นักเรียนควรจะมีความสามารถ ดังนี้
– เข้าใจหลักการของการคิดเชิงระบบ
– สามารถใช้การคิดเชิงระบบในบริบทของงานด้านระบาดวิทยาและการควบคุมโรค
– สามารถใช้เครื่องมือในการจัดการเชิงระบบในการเพิ่มศักยภาพของระบบบริการสุขภาพเพื่อตอบสนองต่อภาระโรคต่างๆ โดยเฉพาะการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข และการสร้างขีดความสามารถของประเทศไทยในการปรับตัวของระบบสุขภาพให้มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และเป็นธรรม
– ประเมินบริการด้านสุขภาพและกลยุทธ์การจัดการขีดความสามารถโดยใช้มุมมองเชิงระบบได้
– สื่อสารการวิเคราะห์ปัญหาด้วยการคิดเชิงระบบกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
Borwornsom Leerapan
Phanuwich Kaewkamjornchai
Modal title
Main Content